วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561

วิจัยของระเบิดพลูโตเนียมครั้งใหม่

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ วิจัยของระเบิดพลูโตเนียมครั้งใหม่

      ในปีนี้นักวิทยาศาสตร์ได้เริ่มการทดลองใหม่เพื่อดูว่า เกิดอะไรขึ้นขณะที่พลูโตเนียมระเบิด ตามบทความของ Chemistry & Engineering News (C&EN)
      จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า คือ เพื่อศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน ซึ่งเป็นไปได้ที่จะควบคุมแหล่งพลังงานชนิดนี้ เพื่อให้กลายเป็นแหล่งพลังงานในอนาคต

วิเคราะห์ข่าว ถ้าทำการวิจัยสำเร็จ ระเบิดพลูโคเนียมอาจจะเป็นแหล่งพลังงานในอนาคตหรือเป็นระเบิดในอนาคตก็ได้

วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2561

Boron Nitride สารที่มีความแข็งมากว่าเพชร

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Boron Nitride สารที่มีความแข็งมากว่าเพชรโครงสร้างผลึกแบบ Wurtziteโครงสร้างผลึกแบบ Wurtzite
โบรอนไนไตรท์ รูปโครงสร้างผลึกแบบ Wurtzite
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
เพชร รูปโครงสร้างผลึกแบบ Sphalerite

      โบรอนไนไตรท์ เป็นสารที่มีความต้านทานความร้อนและปฎิกิริยาทางเคมีสูงมาก ประกอบด้วยโบรอนและไนโตรเจนในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 สูตรทางเคมีคือ BN มีโครงสร้สงผลึกที่หลากหลายเหมือนคาร์บอน มีความแข็งมากกว่าเพขรถึง 58% 

วิเคราะห์ข่าว โบรอนไนไตรท์มีความแข็งมากที่สุด


วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2561

นักวิจัยใช้แสงอาทิตย์เปลี่ยนน้ำเป็นพลังงานไฮโดรเจน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นักวิจัยใช้แสงอาทิตย์เปลี่ยนน้ำเป็นพลังงานไฮโดรเจน

      นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยไอโอวา ร่วมกับบริษัทสตาร์ทอัพจาก California สร้างแหล่งพลังงานสะอาดจากแสงอาทิตย์ และแหล่งน้ำจากที่ใดก็ได้ โดยพลังงานทดแทนจากไฮโดรเจน
      แก็สไฮโดรเจนสามารถผลิตได้โดยผ่านกระบวนการอิเล็กโทรไลซิส เมื่อให้กระแสไฟฟ้ากับน้ำที่มีความบริสุทธิ์สูง โมเลกุลของน้ำจะแตกออกเป็นแก็สไฮโดรเจน และแก็สออกซิเจน แล้วได้สร้างอุปกรณ์ขนาดเล็กที่เรียกว่า Solar-powered eletrochemical

วิเคราะห์ข่าว ทำให้มีต้นทุนการผลิตต่ำลง

ที่มา : https://www.thaiphysicsteacher.com/hydrogen-energy-from-sunlight/

วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2561

ค้นพบวิธีเปลี่ยนแก็ส CO2 เป็นพลังงานเชื้อเพลิงโดยบังเอิญ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ค้นพบวิธีเปลี่ยนแก็ส CO2 เป็นพลังงานเชื้อเพลิงโดยบังเอิญ

      นาย Adam Roninone ผู้นำวิจัยในครั้งนี้พบวิธีเปลี่ยนCO2ที่เป็นของเสียจากการเผาไหม้ เป็นเอทานอลโดยบังเอิญ 
      สืบเนื่องจากเขาเพียงต้องการศึกษาปฏิกิริยาของ CO2 กับวัสดุ nano-spikes เท่านั้น โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาคือทองแดง แต่ผลที่ออกมาเกินคาด โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกมาหลังจากเกิดปฏิกิริยากลับเป็นเอทานอล
      เอทานอลสามารถภูกเปลี่ยนให้เป็นเชื้อเพลิงได้ เข่น แก็สโซลีน ที่มีส่วนผสมของเอทานอลถึง 25 %

วิเคราะห์ข่าว ในอนาคตข้างหน้าอาจจะมีเครื่องกรองแก็ส CO2 แล้วนำมาใช้เป็นพลังงานหมุนเวียนอีกได้ ซึ่งเป็นการใช้ของเสียให้เกิดประโยชน์

ที่มา : https://www.thaiphysicsteacher.com/turn-co2-to-fuel/

วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2561

จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อฉายเลเซอร์บนวัสดุที่ดำที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อฉายเลเซอร์บนวัสดุที่ดำที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา

      นักวิศวกรจากบริษัท Surrey NanoSystems จากประเทศอังกฤษ ได้สังเคราะห์วัสดุที่เมื่อฉายแสงเลเซอร์ไปตกกระทบมันแล้ว จะไม่มีแสงสะท้อนออกมาให้เราเห็น และเหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะมันถูกกักไว้ในเนื้อสาร
      Vantablack เป็นวัสถุที่ทำมาจากกระบวนการทางนาโนเทคโนโลยี โดยใช้ท่อนาโนคาร์บอน โดยมีลักษณะเป็นแท่งคาร์บอนขนาดเล็กมากๆ และมันอยู่ติดกันมากพอที่แสงจะวิ่งผ่านเข้าไปได้ แต่ไม่สามารถหนีออกมาได้ ตอนนี้อยู่ในช่วงทดลองประยุกต์ใช้

วิเคราะห์ข่าว ก็ยังไม่ทราบว่าจะมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร

ที่มา : https://www.thaiphysicsteacher.com/vantablack-blackest-material-ever/

วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2561

นักวิจัยพัฒนาแบตเตอรี่โซเดียมหวังใช้แทนลิเธียมที่มีราคาแพงกว่า

ผลึกเกลือ

      นักวิจัย Stanford พัฒนาแบตเตอรี่ที่มำจากโซเดียม หวังใช้ทดแทนลิเทียมซึ่งนิยมใช้ในปัจจุบัน
      Zhenan Bao นักวิศวกรเคมี และทีมนักวิทยาศาสตร์ด้านวัสดุศาสตร์อีก 2 ท่าน ใช้โซเดียมทำเป็นขั้วแคโทด โดนเป็นขั้วที่ส่งผ่านอิเล็กตรอนไปยังขั้วแอโนด เพราะโซเดียมเพียวๆ จะมีขั้วบวก ซึ่งหมายถึงว่ามันเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย
      Min Ah Lee นักวิจัยอีกท่านได้พัฒนาโซเดียมและสาร Myo-insotol (ช่วยให้อิเล็กตรอนไหลได้ดียิ่งขึ้น)

วิเคราะห์ข่าว ถ้าทำสำเร็จ ราคาแบตเตอรี่ก็จะมีราคาที่ถูกลง

ที่มา : https://www.thaiphysicsteacher.com/sodium-battery-performance/

วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2561

นักวิจัยค้นพบความลับสารให้ความเผ็ดของพริก

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พริก 

      สารที่ทำให้เรารู้สึกเผ็ดร้อน ระคายเคืองในช่องปาก คือ สารแคปไซซิน Capsaicin
      สารแคปไซซินนั้น นอกจากจะทำให้เกิดความเผ็ดแล้ว ยังช่วยลดอาการบาดเจ็บของระบบประสาท กล้ามเนื้อ และข้อต่ออีกด้วย โดยผู้ที่ค้นพบคือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาชวิชาเภสัชวิทยาและสตรีวิทยา ณ โรงเรียนแพทย์รัฐนิวเจอร์ซีย์ ได้ทำการศึกษาเฉพาะเจาะจงไปที่ไอออนแชแนล ซึ่งเป็นช่องถ่ายโอนกระแสประสาท ทำหน้าที่ตอบสนองความร้อนหรือสิ่งเร้าอื่นๆ 

วิเคราะห์ข่าว ได้ความรู้เพิ่มขึ้น ได้รู้ว่าพริกก็มีประโยชน์เหมือนกัน

ที่มา : https://www.thaiphysicsteacher.com/capsaicin-helps-inhibit-mechanical-pain/